Miss. Jitsupak Booncharoentaweesuk
ประสานงานขาย
02-308-2102 ต่อ 113
[email protected]
โรครากเน่าโคนเน่าในขนุน
เตือนภัยกษตรกรผู้ปลูกขนุน เฝ้าระวัง "โรครากเน่า?โคน?เน่า?ในขนุน"
Last Update : 17/10/2019 10:07:29
โรคสแคปในมะม่วง
โรคสแคปในมะม่วง? Mango scab สาเหตุ?เกิดจาก?เชื้อ?รา? Elsino?? mangiferae? Bitanc.? &? Jenkins
Last Update : 17/10/2019 10:07:08
หนอนเจาะฝักลายจุด
เกษตรกรผู้ปลูกถั่วฝักยาว เร่งเฝ้าระวัง หนอนเจาะฝักลายจุด (Bean pod-borer) เข้าทำลายถั่วฝักยาว ทั้งในระยะติดดอกและออกฝัก
Last Update : 17/07/2019 13:41:22
โรคราน้ำฝน
"โรคราน้ำฝน" ที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนที่กำลังมา คาดน่าจะมีความรุนแรงและพบมากในพื้นที่จังหวัดตอนบนของประเทศ ได้แก่ ลำพูน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยาและตาก
Last Update : 17/07/2019 11:40:46
เพลี้ยอ่อน
ช่วงนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูฝน เกษตรกรในหลายพื้นที่เริ่มเตรียมแปลงเพาะปลูกผักนานาชนิด ทั้งช่วงนี้กระแสราคาผลผลิตพืชผักราคาต่อกิโลกรัมสูงขึ้น
Last Update : 17/07/2019 11:38:56
หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด
ปกป้องชัวร์แน่นอน ถ้าใช้ "เมอร์เล็ท" ป้องกันหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด
Last Update : 17/07/2019 11:36:31
หนอนชอนใบส้ม
เตือนเกษตรกรเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์หนอนชอนใบส้ม ระบาดทั่วไทยในระยะนี้
Last Update : 17/07/2019 11:36:16
หนอนกระทู้ในเผือก (หนอนกระทู้ผัก)
หนอนกระทู้ผัก (Common cutworm) ชื่อวิทยาศาสตร์ Spodoptera litura ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก เมื่อตัวหนอนฟักใหม่ๆ จะมีลำตัวใส สีเขียวอ่อน หัวดำ
Last Update : 17/07/2019 11:25:41
โรคไฟทอปธอร่าลงผลทุเรียน
โรคไฟทอปธอร่า หรือ โรครากเน่าโคนเน่า สาเหตุเกิดจาก : เชื้อรา Phytophthora palmivora
Last Update : 01/04/2019 15:52:32
ไรแดงระบาดในมันสำปะหลัง
เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในทุกภูมิภาคของประเทศไทย เฝ้าระวังการเข้าทำลายของไรแดงชนิดต่างๆ
Last Update : 01/04/2019 15:49:59
โรคใบไหม้?ใน?ขึ้นฉ่าย?
โรคใบไหม้ในขึ้นฉ่าย สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Cercospora apii
Last Update : 01/04/2019 15:47:20
เพลี้ยหอยแดงแคลิฟอร์เนีย
เพลี้ยหอยแดงแคลิฟอร์เนีย? (California red scale/CRS) ชื่อ?วิทยา?ศาสตร์?: Aonidiella aurantii (Maskell, 1879) เพลี้ยหอยแดงแคลิฟอร์เนีย? เป็น?แมลงขนาดเล็ก สร้างความเสียหาย?แก่ส้มโดยเกาะติด?อยู่?ตามใบ กิ่งและผลส้ม ดูดกินน้ำเลี้ยงจากส้มและปล่อยน้ำลายที่เป็นสารพิษต่อส้ม หากเพลี้ยหอยแดงดูดกินน้ำเลี้ยงจากผลส้ม จะทำให้ผลเป็นหลุม ผิวส้มเสียหาย
Last Update : 01/02/2019 12:02:32
โรคใบไหม้มันฝรั่ง
โรคใบไหม้มันฝรั่ง (Late blight) เป็นโรคพืชที่สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันฝรั่งรุนแรงมาก มีสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora infestans
Last Update : 01/02/2019 12:00:29
แมลงเล็กจิ๋วเพลี้ยไฟพริก
เตือนภัยเงียบสวนทุเรียน >>> แมลงเล็กจิ๋วเพลี้ยไฟพริก เข้าทำลายดอกทุเรียน ควรเน้นพ่นสารป้องกันเพลี้ยไฟ ระยะดอกเริ่มขาว ก่อนดอกบาน การป้องกันและกำจัด ฉีดพ่น แอ็กมิดา70 (imidacloprid 70% WG) อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร ระยะดอกขาว สลับกับ ไฟว์โกร (fipronil 5% W/V SC) อัตรา 200 มล. ต่อน้ำ 200 ลิตร
Last Update : 01/02/2019 11:58:06
ผีเสื้อหนอนกอ
เตือนหนอนกอมาแล้ว เนื่องจากสภาพอากาศ?เข้าสู่ช่วงปลายฝน ต้นหนาว ยักษ์?ใหญ่? เริ่มพบการเข้าวางไข่ ของผีเสื้อหนอนกอ ในหลายพื้นที่นาข้าว ชาวนาควรเฝ้าระวังและหมั่นตรวจแปลงช่วงเย็นเป็นประจำ ยักษ์?ใหญ่? แนะนำสินค้าป้องกันกำจัดแม่ผีเสื้อหนอนกอ ด้วย แอ็กมิดา 70 อัตรา 5 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร และหว่าน จีโกร อัตรา 3-4 กก. ต่อไร่ ช่วงข้าว อายุ 25-30 วัน หรือหว่านพร้อมปุ๋ยรอบแรก หากพบการระบาดของหนอนกอข้าว ฉีดพ่นด้วย เมอร์?เล็ท อัตรา 50 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 100 มล. ต่อ ไร่
Last Update : 01/02/2019 11:54:30
แมลงหวี่ดำส้ม (Citrus blackfly)
แมลงหวี่?ดำ?ส้ม (Citrus blackfly) ชื่อ?วิทยา?ศาสตร์?: Aleurocanthus woglumi Ashby วงศ์?: Aleyrodidae อันดับ?: Hemiptera
Last Update : 22/11/2018 16:02:27
โรคใบไหม้มะเขือเทศ (Late blight)
โรคใบไหม้มะเขือเทศ (Late blight) สาเหตุเกิดจากเชื้อรา: Phytophthora infestans
Last Update : 22/11/2018 16:00:32
เพลี้ยหอยขาวทุเรียน
เพลี้ยหอยขาวทุเรียน (Snowy white durian scale) วงศ์ : Diaspididae อันดับ : Hemiptera #ห้ามพ่นสารกำจัด?แมลง?ต่อไปนี้ เมื่อพบการระบาดของ ?เพลี้ย?หอย?ขาว?ทุเรียน?
Last Update : 22/11/2018 15:42:24
หนอนกอแถบลายสีม่วง
พบหนอนกอระบาดในนาข้าวเขตจังหวัดภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง เข้าทำลายข้าวตั้งแต่ข้าวเล็กจนถึงระยะข้าวออกรวง
Last Update : 22/11/2018 15:38:09
แมลงบั่ว
เกษตรกร?ชาวนาควรเฝ้าระวัง #แมลงบั่วออกอาละวาด?นาข้าว
Last Update : 22/11/2018 15:29:00
แอ็กดิค
Brand : ยักษ์ใหญ่
Last Update : 10:30:18 30/01/2020
ออนเนอร์
Last Update : 12:04:56 01/04/2019
ไฟว์โกร
Last Update : 11:35:46 01/04/2019
แอ็กมิดา โกลด์
Last Update : 11:33:34 01/04/2019
คลอร์ดี
Last Update : 10:45:10 01/04/2019
โทน่า
Last Update : 11:56:06 06/12/2018
โกเมน
Last Update : 11:55:43 06/12/2018
แอ็กทีฟอน 52
Last Update : 11:55:24 06/12/2018
แอ็กดิค10
Last Update : 11:55:04 06/12/2018
แอ็กจี้
Last Update : 11:54:46 06/12/2018
แม็กซ์แคบ
Last Update : 11:54:25 06/12/2018
ฮัคล์
Brand : ยักษ์ใหญ่
Last Update : 11:54:02 06/12/2018
ซินโกร
Last Update : 11:53:22 06/12/2018
ซีโกร
Last Update : 11:53:04 06/12/2018
คอมโปเนนท์ บี
Last Update : 11:52:47 06/12/2018
โบแทรน 75
Last Update : 11:52:23 06/12/2018
แอ็กเบน เอฟ
Last Update : 11:51:58 06/12/2018
แอ็กท็อป35
Last Update : 11:51:00 06/12/2018
สโตรดี้
Last Update : 11:49:21 06/12/2018
สปาตั้น
Last Update : 11:48:59 06/12/2018

โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง

Last Update : 15:56:19 16/05/2018
Page View (2167)

ลักษณะอาการ

เป็นโรคที่ทำความเสียหายทั้งปริมาณและคุณภาพของผลผลิตมะม่วงเป็นอย่างมาก สามารถเข้าทำลายได้เกือบทุกส่วนของมะม่วง ทั้งยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก ผลอ่อน ผลแก่ และผลหลังการเก็บเกี่ยว และหากการเข้าทำลายของโรครุนแรงก็จะเกิดอาการใบแห้ง ใบบิดเบี้ยว และร่วงหล่น ช่อดอกแห้งไม่ติดผล ผลเน่าร่วงตลอดจนผลเน่าหลังเก็บเกี่ยว อาการที่ใบ ลักษณะแผลเป็นจุดสีน้ำตาลดำขนาดเล็ก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ขึ้น บางครั้งอาจพบว่ากลางแผลฉีกขาดทะลุ อาการที่ช่อดอก ลักษณะอาการเป็นจุดสีน้ำตาลดำประปรายบนก้านช่อดอก และก้านดอก ซึ่งทำให้ดอกเหี่ยวและหลุดร่วง ถ้าไม่รุนแรงนักจะทำให้การติดผลน้อย แต่ถ้าเป็นมากๆ ก็จะไม่ได้ผลผลิตเลย ในบางครั้งจะพบอาการของโรคที่ก้านช่อดอกไหม้ดำ ซึ่งจะแห้งไปในที่สุด อาการบนผล จะเป็นจุดสีดำ รูปร่างกลม บริเวณแผลจะพบรอยแตกและมีเม็ดเล็กๆ สีดำเรียงรายเป็นวงภายใน แผล เมื่อมะม่วงเริ่มแก่ในระหว่างการบ่มหรือขนส่งจุดแผลเหล่านี้จะขยายใหญ่ขึ้น และลุกลามออกไป ทำให้ผลเน่าทั้งผลได้


การป้องกันกำจัด

1.ตัดแต่งกิ่งเป็นโรคและกิ่งอ่อนที่เกิดตามโคนกิ่งใหญ่ ในทรงพุ่ม ซึ่งเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค แล้วไปเผาทิ้งทำลาย

2.ต้องมีการตัดแต่งกิ่งและทรงพุ่มให้โปร่ง เพราะต้นมะม่วงที่แตกกิ่งก้านหนาแน่น เป็นที่สะสมของโรคและแมลง เป็นอย่างดี แสงแดดส่องถึงทำให้บรรยากาศในพุ่มแห้ง ไม่เหมาะต่อการเจริญเติบโตของเชื้อโรค

3.การฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช ระยะแตกใบอ่อน – ระยะใบเพสลาด ฉีดพ่นด้วย ออนเนอร์ (prochloraz 45%EC / กลุ่ม FRAC: 3) อัตรา 10-15 มล., หรือ คลอราส์ (prochloraz + carbendazim 25+25% WP / กลุ่ม FRAC: 3+1) อัตรา 25 กรัม สลับด้วย แอ็กมูร่า300 (difenoconazole+propiconazole 15+15% EC / กลุ่ม FRAC: 3+3) อัตรา 10-15 มล. ฉีดพ่นทุก 14-21 วัน ระยะเดือยไก่ – ระยะก่อนดอกบาน ฉีดพ่นด้วย สโตรดี้ (azoxystrobin + difenoconazole 20+12.5% SC / กลุ่ม FRAC: 11+3) อัตรา 10 มล., หรือ การัน #สูตรพิเศษ (azoxystrobin 25% SC / กลุ่ม FRAC: 11) อัตรา 10 มล. หากสภาพอากาศมีความชื้นสูงหรือฝนชุก ควรผสมร่วมกับ เดซี่ (propinep 70% WP + Zn 16% / กลุ่ม FRAC: M 03) อัตรา 60 – 80 กรัม ฉีดพ่นทุก 7-10 วัน ระยะผลอ่อน – ขยายผล ฉีดพ่นด้วย สโตรดี้ (azoxystrobin + difenoconazole 20+12.5% SC / กลุ่ม FRAC: 11+3) อัตรา 10 มล. ฉีดพ่นทุก 14-21 วัน ระยะผลแก่หรือก่อนห่อผล ฉีดพ่นด้วย การัน #สูตรพิเศษ (azoxystrobin 25% SC / กลุ่ม FRAC: 11) อัตรา 10 มล.



 
© 2000-2008 CopyRight by AG-GRO (Thailand) Co.,Ltd.
Tel. 023082102  Fax. 023082487  Website. www.aggrogroups.com
disclaimer | privacy | contact us 

  Sale Login Warehouse Login Driver Login