Rangsan D.
ประสานงานขาย
099-4286999
[email protected]
ตับทำหน้าที่อะไร
ตับทำหน้าที่อะไร
Last Update : 18/07/2011 17:33:09
ความรู้เกี่ยวกับมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง (สวัสดิ์ โนนสูง และสุธีลา ตุลยะเสถียร และคณะ)
Last Update : 12/07/2011 03:40:57
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารละลายและเครื่องมือวิเคราะห์น้ำ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารละลายและเครื่องมือวิเคราะห์น้ำ
Last Update : 12/07/2011 03:06:10
The Eddy Covariance
(แปลจาก A Brief Practical Guide to Eddy Covariance Flux Measurements; G. Burba and D. Anderson)
Last Update : 11/07/2011 19:07:16
กัมมันตภาพรังสีคืออะไร ?
รังสีนิวเคลียร์ทั่วไป รังสีแอลฟา (a) แอลฟาเป็นอนุภาคที่มีคุณสมบัติเหมือนนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม (2He4 ) ในแต่ละอนุภาคแอลฟาจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกสองหน่วย (ประกอบด้วยโปรตอน 2 อนุภาค และ นิวตรอน 2 อนุภาค) รังสีเบต้า (b) เบต้าเป็นอนุภาคที่มีมวลและค่าประจุไฟฟ้าเท่ากับอิเลคตรอน ในแต่ละอนุภาคมีประจุไฟฟ้าหนึ่งหน่วย ถ้าประจุเป็นบวก เรียกว่า อนุภาคเบต้าบวก ( b+ ) หรือ โปสิตรอน หากประจุเป็นลบ เรียกว่าอนุภาคเบตาลบ ( b- ) โดยทั่วๆไปหากเรียกแต่เพียง เบต้า จะหมายถึง อนุภาคเบต้าลบ ทำให้เกิดรังสีในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เรียกว่า Bremsstrahlung หรือ Braking Radiation ซึ่งมีพลังงานตั้งแต่ 0 ถึงพลังงานสูงสุดของรังสีเบตา และมีอำนาจทะลุทะลวงสูงกว่ารังสีเบตา (วัตถุที่ขวางกั้นรังสีเบตาที่มี Atomic number ต่ำกว่า) รังสีแกมมา (g) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียส มีความถี่อยู่ในช่วงประมาณ 1018 ถึง 1021 Hz และมีพลังงานสูง รังสีเอ็กซ์ (x-rays) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นเดียวกับรังสีแกมมา แต่แผ่ออกมาจากวงโคจรของอิเลคตรอน รังสีเอ็กซ์มีพลังงานต่ำกว่า รังสีแกมมา และมีความถี่อยู่ในช่วงประมาณ 1015 ถึง 1022 Hz รังสีเอ็กซ์มีอยู่สองชนิดได้แก่ Continuous X-rays หรือ Bremsstrahlung และ Characteristic X-rays รังสีนิวตรอน (n) เป็นอนุภาคที่ไม่มีประจุไฟฟ้า มีอำนาจในการทะลุทะลวงสูง นิวตรอนไม่อาจอยู่อย่างอิสระ จะสลายตัวไปเป็นโปรตรอน อิเลคตรอน และแอนตินิวตริโน ภายในเวลาประมาณสิบสองนาที
Last Update : 11/07/2011 13:11:09
กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง
Brand : คาเฟ่ 7 เลก้า
Model : CAFE 7 LEGA
กาแฟเพื่อสุขภาพ คาเฟ่ 7 เลก้า กาเฟปรุงสำเร็จชนิดผง ติดต่อ รังสรรค์ (น้องอิงฟ้า) 099-4286999 line ID : rangsand
Last Update : 11:04:19 02/02/2024
คาเฟ่ 7 โกลด์ แบรนด์
Brand : CAFE`7 GOLD
Model : CAFE`7 GOLD
กาแฟฟรีเมี่ยมอาราบิก้า หอมเข้มข้น อุดมด้วยสุดยอดสมุนไพร 4 ราชา แห่งการบำรุงสมรรถภาพร่างกาย ตัดสรรสารสกัดจากสมุนไพรตามตำรับยาจีนโบราณ คุณสมบัติโดดเด่นในการบำรุงกำลังร่างกาย
Last Update : 19:42:46 19/04/2020
คาเฟ่ 7 เจบี
Brand : คาเฟ่ 7 เลก้า แบรนด์
Model : CAFE 7 JB คาเฟ่ 7 เจบี แบรนด์
CAFE 7 JB คาเฟ่ 7 เจบี แบรนด์
Last Update : 19:41:43 19/04/2020
ลูทีเนส ตัวช่วยดูแลดวงตา
Brand : Luteines
Model : ลูทีเนส
ดูแลสุขภาพดวงตา
Last Update : 14:45:09 03/04/2020
ระบบการจัดการฐานข้อมูล
Brand : Ingfah Tech
Model : Call Center
Data Center
Last Update : 06:12:42 11/05/2019

กัมมันตภาพรังสีคืออะไร ?

Last Update : 13:11:09 11/07/2011
Page View (2182)

กัมมันตภาพรังสี...คืออะไร?


กัมมันตภาพรังสี
(Radioactivity) เป็นคุณสมบัติของธาตุและไอโซโทปบางส่วน ที่สามารถเปลี่ยนแปลงตัวเองเป็นธาตุหรือไอโซโทปอื่น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้จะมีการปลดปล่อยหรือส่งรังสีออกมาด้วย ปรากฏการณ์นี้ได้พบครั้งแรกโดย เบคเคอเรล เมื่อปี พ.ศ. 2439 ต่อมาได้มีการพิสูจน์ทราบว่า รังสีที่แผ่ออกมาในขบวนการสลายตัวของธาตุหรือไอโซโทปนั้นประกอบด้วย รังสีแอลฟา, รังสีเบต้า และรังสีแกมมา


รังสีแอลฟา
รังสีที่ประกอบด้วยอนุภาคแอลฟาซึ่งเป็นอนุภาคที่มีมวล 4 amu มีประจุ +2 อนุภาคชนิดนี้จะถูกกั้นไว้ด้วยแผ่นกระดาษหรือเพียงแค่ผิวหนังชั้นนอกของคนเราเท่านั้น

การสลายตัวให้รังสีแอลฟา
90Th 232----->88Ra 228 +   2a 4


รังสีเบต้า
รังสีที่ประกอบด้วยอนุภาคอิเลคตรอนหรือโพสิตรอน รังสีนี้มีคุณสมบัติทะลุทะลวงตัวกลางได้ดีกว่ารังสีแอลฟา สามารถทะลุผ่านน้ำที่ลึกประมาณ 1 นิ้วหรือประมาณความหนาของผิวเนื้อที่ฝ่ามือได้ รังสีเบต้าจะถูกกั้นได้โดยใช้แผ่นอะลูมิเนียมชนิดบาง

การสลายตัวให้รังสีบีตา
79Au 198----->80Hg 198 +   -1b 0
7N 13----->6C 13 +   +1b 0



รังสีแกมมา
รังสีที่เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพลังงานสูง มีคุณสมบัติเช่นเดียวกันกับรังสีเอกซ์ที่สามารถทะลุผ่านร่างกายได้ การกำบังรังสีแกมมาต้องใช้วัสดุที่มีความหนาแน่นสูงเช่น ตะกั่วหรือยูเรเนียม เป็นต้น

การสลายตัวให้รังสีแกมมา
27Co 60----->-1b 0 +   28Ni 60----->28Ni60 +   g

 

อันตรายจากรังสี


แม้รังสีจะมีอยู่ล้อมรอบตัวเรา และมนุษย์ทุกคนก็สามารถใช้ประโยชน์จากรังสีได้ แต่รังสีก็นับได้ว่ามีความเป็นพิษภัยในตัวเองเช่นกัน รังสีมีความสามารถก่อให้เกิดความเสียหายของเซลล์สิ่งมีชีวิต และถ้าได้รับรังสีสูงมากอาจทำให้มีอาการป่วยทางรังสีได้ ดังนั้นผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับรังสีจะต้องกระทำด้วยความรอบคอบ เพื่อป้องกันตัวเองและสาธารณชนไม่ให้ได้รับอันตรายจากรังสีเลย

การใช้ประโยชน์จากรังสี


ปัจจุบันได้มีการนำรังสีและสารกัมมันตรังสีมาใช้งานต่างๆ กันเช่น ในทางการแพทย์มีการใช้ในการตรวจวินิจฉัย และบำบัดอาการโรคของผู้เจ็บป่วยจากโรคร้ายต่างๆ เช่น การฉายรังสีเอกซ์ การตรวจสมอง การตรวจกระดูก และการบำบัดโรคมะเร็ง เป็นต้น นอกจากนี้ก็มีการใช้งานทางรังสีในกิจการอุตสาหกรรม การเกษตร และการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาทิเช่น การใช้รังสีตรวจสอบรอยเชื่อม รอยร้าวในชิ้นส่วนโลหะต่างๆ การใช้ป้ายเรืองแสงในที่มืด การตรวจอายุวัตถุโบราณ การถนอมอาหารด้วยรังสี และการฆ่าเชื้อโรคในเครื่องมือแพทย์

http://www.youtube.com/watch?v=0AYiwq12gtQ



 
© 2000-2008 CopyRight by Ingfah Tech
Tel. 099-4286999  Fax. 095-5515333  Website. https://legacy.business.site/?m=true
disclaimer | privacy | contact us 

  Sale Login Warehouse Login Driver Login